ข้อมูลแบบประเมินตนเองประจำปี 2567

แบบประเมินตนเองห้องสมุดสีเขียว (Green Library)

ประจำปี2567

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

ชื่อห้องสมุดหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประเภทของอาคารอาคารเดี่ยวเป็นของตนเอง
ขนาดของพื้นที่ห้องสมุดที่ขอรับการประเมิน (ตารางเมตร)100
จำนวนชั้น3
จำนวนบุคลากรประจำ (คน)50
จำนวนผู้รับบริการต่อปี (คน)10000
จำนวนการให้บริการต่อปี (ครั้ง)10000
การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉลี่ยมีปริมาณทรัพยากรสารสนเทศฯ เพิ่มขึ้นปีละกี่รายชื่อ100
การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละเท่าไหร่ของกิจกรรมที่ห้องสมุดจัด100
การเป็นสมาชิกของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ (นิติบุคคล)เป็นสมาชิก
เลขที่สมาชิกของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ0000000
การเป็นสมาชิกของชมรมห้องสมุดสีเขียว (นิติบุคคล)เป็นสมาชิก
เลขที่สมาชิกของชมรมห้องสมุดสีเขียว0000000

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินห้องสมุดสีเขียว พ.ศ. 2566 ด้านห้องสมุด (เบื้องต้น)

หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

1.1 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว

1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  • (1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของห้องสมุดทั้งหมด ทั้งส่วนของสำนักงาน และพื้นที่บริการ
  • (2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด
หลักฐานevidence.pdf
1.1.2 มีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุด สีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้1.1.2 มีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุด สีเขียวและสำนักงานสีเขียว โดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้
ด้านห้องสมุด
  • (1) มีนโยบายการบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
  • (2) มีนโยบายการจัดการและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ และพร้อมใช้
  • (3) มีนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
  • (4) มีนโยบายการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว
หลักฐานevidence1.pdf
1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง
  • (1) นโยบายห้องสมุดสีเขียวจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
  • (2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายห้องสมุด สีเขียวอย่างชัดเจน
  • (3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการเป็นห้องสมุดสีเขียว
  • (4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายห้องสมุดสีเขียว
หลักฐานevidence2.pdf
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี
  • (1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบทุกหมวด
  • (2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานแต่ละหมวด
  • (3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร
หลักฐานevidence3.pdf
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านห้องสมุด (ตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียว) และมีหลักฐานการลงนามอนุมัติและวันที่ประกาศใช้อย่างชัดเจนและเป็นปัจจุบัน ดังนี้
  • (1) การจัดการและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • (2) การส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก
  • (3) การจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
  • (4) ความพึงพอใจของผู้รับบริการห้องสมุดสีเขียว
หลักฐานevidence4.pdf
1.1.6 มีการกำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว ทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นงานประจำของหน่วยงาน ดังนี้
  • (1) มีการกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวทั้ง ด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแผนงานประจำของห้องสมุด โดยดำเนินการต่อเนื่องทุกปี
  • (2) มีการสรุปปัญหาและแนวทางการปรับปรุง เป็นข้อมูลเพื่อกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวในปีต่อไป
  • (3) มีการบูรณาการงานด้านห้องสมุดและงานด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนงานพัฒนาห้องสมุด สีเขียว
  • (4) กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียวเป็นภาระงานของบุคลากรที่ต้องได้รับการประเมิน
หลักฐานevidence5.pdf
1.1.7 มีการกำหนดนโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร หรือนโยบายของประเทศ หรือนโยบายตามบริบทสากล ดังนี้
  • (1) มีการกำหนดนโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)หรือ นโยบายการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ของห้องสมุด
  • (2) มีการกำหนดเป้าหมายและแผนงานการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระยะสั้นและระยะยาวของห้องสมุด ที่สอดคล้องกับนโยบายตามข้อ (1)
  • (3) มีการลด และ/หรือชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
  • (4) ผลการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดในข้อ (2)
หลักฐานevidence6.pdf

1.2 คณะทำงานห้องสมุดสีเขียว

1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุด สีเขียว ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการด้านห้องสมุด และคณะกรรมการด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้
  • (1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ซึ่งประกอบด้วยงานด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นลายลักษณ์อักษร และ ลงนามอนุมัติการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวดและประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน
  • (2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการหรือทีมงาน อย่างชัดเจน
หลักฐานevidence7.pdf
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุด สีเขียว ด้านห้องสมุดที่ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้
  • (1) ประธาน/หัวหน้า
  • (2) คณะกรรมการหรือทีมงานด้านห้องสมุด
หลักฐานevidence8.pdf

1.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร

1.3.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
  • (1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม
  • (2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านห้องสมุด ในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม
  • (3) จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม
  • (4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
หลักฐานevidence9.pdf
1.3.2 มีการกำหนดวาระการประชุมและทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร ดังนี้
  • (1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  • (2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมาทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • (3) วาระที่ 2 ทบทวนนโยบายห้องสมุดสีเขียว
  • (4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการหรือทีมงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและความเหมาะสม)
  • (5) วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • (6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่ จะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • (7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมและแนวคิดของผู้บริหารต่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • (8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร รายชื่อผู้เข้าประชุมและภาพถ่ายที่ แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง
หลักฐานevidence10.pdf

1.4 การตรวจประเมินภายใน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ)

1.4.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด (ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)
  • (1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด ประกอบด้วย หัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมินที่มีความรู้และประสบการณ์เรื่องห้องสมุด สีเขียว
  • (2) มีการกำหนดความถี่ ในการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  • (3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุดครอบคลุมทุกหมวด
  • (4) กำหนดให้ผู้ตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุดแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมินอย่างชัดเจน
  • (5) ดำเนินการตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุด ครบถ้วนทุกหมวด
หลักฐานevidence11.pdf

หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรมดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม
  • (1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
    - ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียว
    - การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    - การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
    - การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • (2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมใน ข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
  • (3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบหรือการประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น
  • (4) จัดทำประวัติการอบรมของบุคลากร
หลักฐานevidence12.pdf
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม
  • (1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีความรู้ในเนื้อหาการอบรม
  • (2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ประวัติ หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
หลักฐานevidence13.pdf

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว
  • (1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้
    1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว (ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง)
    2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง (ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง)
    3. ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง (ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง)
    4. กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว (ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง)
    5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ (ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง)
  • (2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
  • (3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร
  • (4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
หลักฐานevidence14.pdf
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ทั้ง 5 เรื่อง ตามข้อ 2.2.1 (1) ได้แก่
  • (1) นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว
  • (2) ทรัพยากรสารสนเทศและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
  • (3) ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
  • (4) กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว
  • (5) กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ
หลักฐานevidence15.pdf
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
  • บุคลากรรับรู้ เข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว
หลักฐานevidence16.pdf
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทาง ดังนี้
  • (1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์ เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับ ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม
  • (2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
  • (3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว
  • (4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร
หลักฐานevidence17.pdf

หมวดที่ 3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและการให้บริการห้องสมุดสีเขียว

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการดังนี้
  • (1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
  • (2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
  • (3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
  • (4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
หลักฐานevidence18.pdf
3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อย ปีละ 100 รายชื่อ120
หลักฐานevidence19.pdf
3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้
  • (1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น
  • (2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา
  • (3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ
  • (4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย
หลักฐานevidence20.pdf

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
  • (1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงาน เครือข่ายความร่วมมือ
  • (2) ตรวจสอบสภาพ และจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ
  • (3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
  • (4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักฐานevidence21.pdf
3.2.2 จัดพื้นที่บริการให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้
  • (1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
  • (2) ปลอดภัย
  • (3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร
  • (4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักฐานevidence22.pdf

หมวดที่ 4 การส่งเสริมการเรียนรู้

4.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้รับบริการ บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

4.1.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้กับกลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องต่อไปนี้
  • (1) การประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า
  • (2) การประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
  • (3) การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุ เหลือใช้ การจัดการของเสียและมลพิษ
  • (4) ก๊าซเรือนกระจก
หลักฐานevidence23.pdf
4.1.2 การมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้
  • (1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด
  • (2) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม
  • (3) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการสรุปผลกิจกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์
  • (4) มีการจัดทำใบประกาศหรือใบรับรองให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขที่ห้องสมุดกำหนด
หลักฐานevidence24.pdf
4.1.3 ความถี่และความสม่ำเสมอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว
  • ไม่มีการดำเนินการ หรือดำเนินการเพียง 1 ครั้ง
  • มีการดำเนินการเพียง 2 ครั้ง/ปี
  • มีการดำเนินการเพียง 3-4 ครั้ง/ปี
  • มีการดำเนินการเพียง 5-6 ครั้ง/ปี
  • มีการดำเนินการมากกว่า 6 ครั้ง/ปี
หลักฐานevidence25.pdf
4.1.4 จัด Green Corner หรือพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว โดยแสดงข้อมูลต่อไปนี้ และมีการปรับปรุงข้อมูลเป็นประจำทุกเดือนเป็นอย่างน้อย
  • (1) นโยบายห้องสมุดสีเขียว และสำนักงานสีเขียว (ปรับปรุงข้อมูลเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง)
  • (2) ข่าวสาร กิจกรรม มาตรการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของห้องสมุด
  • (3) ผลการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำ การประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
  • (4) สื่อความรู้ และเอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
หลักฐานevidence26.pdf

4.2 ประเมินผลการเรียนรู้

4.2.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมที่มีการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้100
หลักฐานevidence27.pdf
4.2.2 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม (เกณฑ์การวัดความรู้ พิจารณาจากคะแนนผ่านที่ร้อยละ 60)100
หลักฐานevidence28.pdf
4.2.3 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีผลประเมินด้านพฤติกรรมในเชิงบวกหลังเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคลากร และกลุ่มผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง100
หลักฐานevidence.pdf
4.2.4 การปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
  • (1) สรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งหมดในรอบปี
  • (2) มีการวิเคราะห์ปัญหา และผลประเมินการเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนากิจกรรม
  • (3) จัดทำแผนปรับปรุงและพัฒนากิจกรรม
  • (4) จัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเสนอผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง
หลักฐานevidence29.pdf

หมวดที่ 5 เครือข่ายความร่วมมือ

5.1 หน่วยงานความร่วมมือ

5.1.1 มีความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ดังนี้
  • (1) เครือข่ายห้องสมุดสีเขียว
  • (2) ชมรมห้องสมุดสีเขียว
  • (3) หน่วยงานภายในองค์กร
  • (4) หน่วยงานภายนอกองค์กร
หลักฐานevidence30.pdf
5.1.2 มีความร่วมมือในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ร่วมกับหน่วยงานด้านนโยบาย/การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านวิจัย และด้านการศึกษา ดังนี้
  • (1) หน่วยงานด้านนโยบาย/บริหาร หรือ หน่วยบริหารงานกลาง เพื่อประสานความร่วมมือด้านนโยบายแผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการขยะ เป็นต้น
  • (2) หน่วยงานด้านกายภาพ เพื่อประสานความร่วมมือด้านอาคารสถานที่ ระบบงานไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น
  • (3) หน่วยงานวิจัย เพื่อประสานความร่วมมือในการนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว
  • (4) หน่วยงานด้านการศึกษา หรือหน่วยการเรียนการสอน เพื่อประสานความมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
หลักฐานevidence31.pdf

5.2 กิจกรรมความร่วมมือ

5.2.1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้
  • (1) เข้าร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานความร่วมมือจัด
  • (2) จัดกิจกรรมและเชิญหน่วยงานความร่วมมือเข้าร่วม
  • (3) เป็นวิทยากรหรือเป็นพี่เลี้ยงให้กับหน่วยงานอื่น
  • (4) เป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านห้องสมุดสีเขียว
หลักฐานevidence32.pdf
5.2.2 จำนวนหน่วยงานต่อปี ที่ได้รับการขยายผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียว เช่น โรงเรียน ชุมชน หรือหน่วยงานต่าง ๆ20
หลักฐานevidence33.pdf